8.24.2555

ดูงาน ฟังการบรรยาย กรุงเทพ

Creativities Unfold, Bangkok 2012

สัมผัสประสบการณ์การปรุงส่วนผสมความรู้ที่หลากหลาย
       ให้เป็นนวัตกรรมตอบโจทย์สังคมยุคสร้างสรรค์ 

อาทิตย์ที่ 9 กันยายน 2555

Design is Strategy & Business: งานออกแบบพลิกธุรกิจ
เรียนรู้วิถีใหม่ของงานออกแบบในฐานะกลไกทางธุรกิจและกลยุทธพิชิตใจลูกค้า
จากผู้เชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษาด้านการบริหารงานออกแบบ
รวมถึงนักคิดที่เข้าใจสถานการณ์โลกอย่างถ่องแท้และช่วยให้ธุรกิจพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส
Dieter RamsIdris            Mootee                        อดิศร ศุภวัฒนกุล               Morinosuke Kawaguchi
นิสิตวิชาเอกกราฟิกมีเดีย เข้าร่วมดูงานและฟังบรรยายงานด้านการประยุกต์ในการออกแบบ
ตอนนี้ขอโควต้าที่นั่งฟรีได้แค่ 10 คน ( กำลังพยายามขอเพิ่มให้ครบ 12 )
ทุกโควต้าที่นั่งมีมูลค่า (เพราะเป็นการซื้อบัตรเข้าฟังบรรยาย) 
ณ. ศูนย์การค้าเอ็มโพเรียม ชั้น 6  สุขุมวิท 24 กรุงเทพๆ 
< รถตู้มารับ หน้าคณะศิลปกรรมศาสตร์  
วันอาทิตย์ที่ 9 กันยา 55 : เวลา 8.00 น. >  กลับประมาณ 18.00 น.
ชุดสุภาพ : ไม่จำเป็นต้องเป็นชุดนิสิต



8.09.2555

เข้าไป Comment งาน Overlayด้วย!!!














ให้เข้าไปแสดงความคิดเห็นส่วนตัว
วิจารณ์ / วิเคราะห์ / และเลือกผลงานที่ชื่นชอบ
1 ชิ้น ( ที่ไม่ใช่เป็นของตนเอง ) พร้อมเหตุผล
ในหัวข้อ Assignment# 3 Overlay

[ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยตาม ค่าคะแนนที่ได้รับ ]

8.08.2555

ผลการตัดสิน AFTA+ GAMES 2012

ผลการตัดสินโครงการประกวดการออกแบบ
ตราสัญลักษณ์ (Emblem) และสัตว์นาโชค (Mascot)






การจัดการแข่งขัน 
กีฬาสานสัมพันธ์นิสิตนานาชาติ 
The 1st AFTA+ GAMES 
ประจาปี 2555 
มหาวิทยาลัยบูรพา



รางวัลชนะเลิศ        : นางสาวเมวิณี นุชจีด ( หม้อ )
รองชนะเลิศอันดับ 1 : นางสาวพรพิมล นพพะ ( อ้อย )
รองชนะเลิศอันดับ 2 : นางสาวศุภรัตน์ วงศ์ไทย ( หวาน )

ตราสัญลักษณ์โครงการ : ใช้ของ เมวิณี
Mascot โครงการ         :  ใช้ของพรพิมล



วันที่ 3 กันยายน 2555 เชิญทุกคนเข้าร่วมงานจัดแสดงนิทรรศการ
ผลงานออกแบบทั้งหมด  และพิธีรับมอบรางวัลผู้ที่ชนะเลิศ 
และผู้ที่เข้าร่วมประกวด

จากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา มาเป็นประธานในพิธี..


บรรยากาศการตัดสินจากคณะกรรมการ





















ทั้งนี้ทั้งนั้น หากดูเรื่องคุณภาพของงานและขั้นตอนการปฎิบัติงาน
พวกเราก็ยังเพิ่งเริมเดิน..ยังขาดความรู้ความสามารถ 
ประสบการณ์อีกมากเพิ่งจะเรียนปี 2
ยังต้องเรียนรู้ ศึกษาอีกเยอะ..


 (ส่งไฟล์งานมาให้ อ.ในเมลด้วย ทั้งตัวสัญลักษณ์ 2 ตัวและบอร์ด )
 ...............................................
ผลงานการออกแบบ

ชนะเลิศอันดับ 1 (หม้อ)












รางวัลรองขนะเลิศอันดับ 1 ( อ้อย )











 















รางวัลรองขนะเลิศอันดับ 2 ( หวาน )





















นนธิยา สิงห์อ่อน (นน)
























































7.30.2555

G.media 1 [ Special ]

  ประกวดตราสัญลักษณ์ & สัตว์นำโชค The 1st AFTA+ Game 2012

ผลงาน 1 ชิ้นประกอบด้วย ตราสัญลักษณ์ และ สัตว์นำโชค <Mascot>
สื่อสาร ภาพลักษณ์และเอกลักษณ์อันโดดเด่นการจัดการแข่งขันกีฬาสานสัมพันธ์นิสิตนานาชาติ
จากกลุ่มนิสิตอาเซี่ยน สื่อความสามัคคี ความทันสมัยก้าวทันเทคโนโลยี และรักษาสิ่งแวดล้อม
ในมุมมองที่แปลกใหม่ ทำให้เป็นที่รู้จักในแวดวงสังคมทุกระดับ และจดจำได้ง่าย

คุณสมบัติของตราสัญลักษณ์
- มีตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นส่วนประกอบ
- ต้องมี คาว่า AFTA+ GAMES ประกอบตราสัญลักษณ์
- มีองค์ประกอบที่สวยงาม จดจาง่าย
- มีสีประจามหาวิทยาลัยบูรพาเป็นสีประกอบ

Schedule
จันทร์ 30  :  Brief งาน
31-2       :  สะเก็ตช์ ระยะแรก คนละ 10 แบบ ( ตราสัญลักษณ์ และ สัตว์นำโชค ) ปรับแบบ
3-5         :  ปรับแบบ พัฒนาแบบ ส่งความคืบหน้า / แก้ไข เลือกแบบ ( อาจจะเป็นทาง Mail )
จันทร์ 6    :  พัฒนา ปรับแก้แบบที่เลือกจนแล้วเสร็จ
อังคาร 7   :  เก็บรายละเอียด + ทำชาร์ดผลงาน
พุธ 8       :  ส่งผลงาน 8.00 น. ( ห้าม Late กรรมการตัดสินผลงาน 9.00 น. )

[ส่งแบบร่างครั้งที่ 1]
31 july 2012 : อิง / กิด / รุ้ง / นุ๊ก / อ้อย / แนน / โม
1 August 2012 : ต้น / นน 

7.12.2555

G.media 1 [ Figure&Ground ] # 4

Figure & Ground

การรับรู้จากรูปและพื้น (Figure and Ground) 
องค์ประกอบแรกที่มนุษย์มองเห็นและเกิดการรับรู้ จากวัตถุต่าง ๆ ในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เมื่อมนุษย์ มองเห็นวัตถุใดในสนามภาพ (Visual Field) สิ่งที่ปรากฎนั้นจะประกอบค้วยรูป (Figure) และ พื้น (Ground) โดยการจะกำหนดว่าส่วนใดเป็นรูป และส่วนใดเป็นพื้น ก็อาจพิจารณา ตามแนวทาง ดังนี้

Figure ภาพ คือ องค์ประกอบที่ปรากฎต่อสายตา เป็นที่ให้ความสนใจ เป็นสิ่งแรก เช่น..เรามองคนข้ามถนน สิ่งแรกที่สนใจคือ รูปคน ที่กำลังเดิน มากกว่าสิ่งแวดล้อมรอบคนนั้น รูปคนกำลังข้ามถนนนั้น คือ รูป (Figure) 
ส่วนสิ่งแวดล้อม เช่นรถที่วิ่งไปมา หรือถนน อาคาร คือ Ground พื้น

นอกจากนี้การกำหนดว่าส่วนใดคือรูปและส่วนใดคือพื้น ก็อาจเกิดจาก ความหมายในตัววัตถุนั้นเอง คือถ้าวัตถุนั้นเราจำได้หรือรู้จักว่ามันเป็น สิ่งใดแล้ว จะแยกได้ชัดเจนว่าสิ่งนั้นเป็นรูป และส่วนอื่นก็จะกลายเป็นพื้น


องค์ประกอบของงาน Ass#4
Figure   : Photo ภาพถ่ายตัดรูปร่าง out line (ส่วนภาพ)
Ground : Photo ภาพถ่ายพื้นงาน (ส่วนพื้น)
Graphic : ลวดลายกราฟิกประกอบ (เป็นตัวเชื่อมภาพและเรื่องราวของภาพและพื้น)
Brand    : แบรนด์สินค้า เป็นตัวกำหนดรูปแบบ สไตล์ Mood & Tone

ขนาด : A3 ด้านนอน

.................................................................................

9 ส.ค. 2555 ( นำเสนอความคืบหน้า / สรุปแบบ ) 
กิด / อิง / โม / แนน / นน / รุ้ง / หม้อ /

16 ส.ค. 55 : อิง / แนน / หม้อ / อ้อย / กิด / ต้น / โม ทำงานถึงทุ่มเลย

.............................................................................................

 < Final > 23.08.2012

ธิชญานันท์ สุจริตธรรม ( โม )

  
นางสาวนนธิยา สิงห์อ่อน ( นน ) งานต้องผ่านการปรับแก้อีกรอบ                                        
นางสาวจารุตา ยงค์พีระกุล ( แนน )


นางสาวสมใจ อร่ามสุวรรณ ( นุ๊ก ) หมายเหตุ: งานยัง Final ไม่ได้ ต้องผ่านการปรับแก้อีกรอบ


นางสาวสิริกาญจน์ น้อยอามาตย์ ( อิง )


นางสาวเมวิณี นุชจีด ( หม้อ)


นายอภิสิทธิ์ เฉลิมวัฒน์ ( ต้น )

 นางสาวพรพิมล นพพะ ( อ้อย )

 นายกฤษฏิ์ ตุลวรรธนะ ( กิด )

  นางสาวศุภรัตน์ วงศ์ไทย ( หวาน )



6.27.2555

G.media 1 [ Overlays Color ] # 3 เมื่อศิลปะสมัยเรียนอนุบาล (การทับสี) โดนนำกลับมาผ่านระบบการจัดการ การออกแบบ การกำกับศิลป์ โดยนิสิต Graphic media ชั้นปีที่ 2

 เมื่อไหร่ ! จะส่งงานมาให้ Comment !!!
                                         9  ก.ค. 55

สี ( Color )
คุณสมบัติของสี    -  น้ำหนักของสี  (Value  of  Color)
                               -  การป้ายสีให้เป็นเส้น  
                               -  การใช้สีให้เกิดรูปร่าง
                               -  การใช้สีให้เกิดจังหวะ
                               -  การใช้สีแสดงลักษณะของผิว
*และยังมีส่วนให้เกิดความคิด  ความรู้สึก  อารมณ์  จึงนับเป็นองค์ประกอบหลัก   
ที่ควบคุมและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอื่น   
 เพราะสีมีส่วนเกี่ยวพันกับองค์ประกอบทุกอย่างที่ประกอบเป็นภาพขึ้น

 ค่าน้ำหนักของสี  (Value of color) เป็นการใช้สีโดยให้มีค่าน้ำหนักในระดับต่าง ๆ กัน 
และมีสีหลาย ๆ สี ซึ่งถ้าเป็นสีเดียว ก็จะมีลักษณะเป็นสีเอกรงค์ 
การใช้ค่าน้ำหนักของสี จะทำให้เกิดความกลมกลืน เกิดระยะใกล้ไกล ตื้นลึก 
ถ้ามีค่าน้ำหนักหลาย ๆ ระดับ สีก็จะกลมกลืนกันมากขึ้น
หากมีเพียง 1 - 2 ระดับที่ห่างกัน จะทำให้เกิดความแตกต่าง

ความสำคัญของค่าน้ำหนักสี
    1. ให้ความแตกต่างระหว่างรูปและพื้น หรือรูปทรงกับที่ว่าง
    2. ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว
    3. ให้ความรู้สึกเป็น 2 มิติ แก่รูปร่าง และความเป็น 3 มิติแก่รูปทรง
    4. ทำให้เกิดระยะความตื้น - ลึก และระยะไกล้ - ไกลของภาพ
    5. ทำให้เกิดความกลมกลืนประสานกันของภาพ


                               



  สีขั้นที่ 1 / 2            สีขั้นที่ 3              สีร้อน/สีเย็น           สีคู่ตรงข้าม

 การประกอบรูปทรงและรูปร่างมีดังนี้  
1. การประกอบแบบด้านต่อด้าน             2.  การประกอบแบบมุมต่อมุม          
3. การประกอบแบบมุมต่อด้าน               4. การประกอบโดยให้ความรู้สึกสัมผัสด้วยสายตา        
5. การประกอบแบบวางซ้อนกัน              6. การประกอบแบบให้คาบเกี่ยวกัน                             
7. การประกอบแบบให้ปิดงอบังกันหรือเชื่อมกัน

Overlays  การซ้อนทับ /  Complexity  ความซับซ้อน
 ......................................................................   


 






























สร้างต้นแบบ กราฟิกเทคนิคการทับสี






























































































นำต้นแบบงานพิมพ์มือ มาสร้างสรรค์ผลงานออกแบบด้วย Computer Graphic





































Final : 12 July 2012 


< คะแนนสุงที่สุดในห้อง >: ได้รับเลือกเป็นแบบ สิ่งพิมพ์สถาบันสอนภาษา AUA
 จารุตา ยงค์พีระกุล ( แนน ) 
































ธิชญานันท์ สุจริตธรรม ( โม )

















นนธิยา สิงห์อ่อน ( นน )
















นางสาวศุภรัตน์ วงศ์ไทย ( หวาน )

















พรพิมล นพพะ ( อ้อย )

















กานต์สิรี โชติช่วง ( รุ้ง )


















เมวิณี นุชจีด ( หม้อ )















 สิริกาญจน์ น้อยอามาตย์ (อิง) 


















กฤษฏิ์ ตุลวรรธนะ ( กิด )

















สมใจ อร่ามสุวรรณ ( นุ๊ก )


















อภิสิทธิ์ เฉลิมวัฒน์ ( ต้น )
อุมาพร กุญชร ( บี )