6.27.2555

G.media 1 [ Overlays Color ] # 3 เมื่อศิลปะสมัยเรียนอนุบาล (การทับสี) โดนนำกลับมาผ่านระบบการจัดการ การออกแบบ การกำกับศิลป์ โดยนิสิต Graphic media ชั้นปีที่ 2

 เมื่อไหร่ ! จะส่งงานมาให้ Comment !!!
                                         9  ก.ค. 55

สี ( Color )
คุณสมบัติของสี    -  น้ำหนักของสี  (Value  of  Color)
                               -  การป้ายสีให้เป็นเส้น  
                               -  การใช้สีให้เกิดรูปร่าง
                               -  การใช้สีให้เกิดจังหวะ
                               -  การใช้สีแสดงลักษณะของผิว
*และยังมีส่วนให้เกิดความคิด  ความรู้สึก  อารมณ์  จึงนับเป็นองค์ประกอบหลัก   
ที่ควบคุมและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอื่น   
 เพราะสีมีส่วนเกี่ยวพันกับองค์ประกอบทุกอย่างที่ประกอบเป็นภาพขึ้น

 ค่าน้ำหนักของสี  (Value of color) เป็นการใช้สีโดยให้มีค่าน้ำหนักในระดับต่าง ๆ กัน 
และมีสีหลาย ๆ สี ซึ่งถ้าเป็นสีเดียว ก็จะมีลักษณะเป็นสีเอกรงค์ 
การใช้ค่าน้ำหนักของสี จะทำให้เกิดความกลมกลืน เกิดระยะใกล้ไกล ตื้นลึก 
ถ้ามีค่าน้ำหนักหลาย ๆ ระดับ สีก็จะกลมกลืนกันมากขึ้น
หากมีเพียง 1 - 2 ระดับที่ห่างกัน จะทำให้เกิดความแตกต่าง

ความสำคัญของค่าน้ำหนักสี
    1. ให้ความแตกต่างระหว่างรูปและพื้น หรือรูปทรงกับที่ว่าง
    2. ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว
    3. ให้ความรู้สึกเป็น 2 มิติ แก่รูปร่าง และความเป็น 3 มิติแก่รูปทรง
    4. ทำให้เกิดระยะความตื้น - ลึก และระยะไกล้ - ไกลของภาพ
    5. ทำให้เกิดความกลมกลืนประสานกันของภาพ


                               



  สีขั้นที่ 1 / 2            สีขั้นที่ 3              สีร้อน/สีเย็น           สีคู่ตรงข้าม

 การประกอบรูปทรงและรูปร่างมีดังนี้  
1. การประกอบแบบด้านต่อด้าน             2.  การประกอบแบบมุมต่อมุม          
3. การประกอบแบบมุมต่อด้าน               4. การประกอบโดยให้ความรู้สึกสัมผัสด้วยสายตา        
5. การประกอบแบบวางซ้อนกัน              6. การประกอบแบบให้คาบเกี่ยวกัน                             
7. การประกอบแบบให้ปิดงอบังกันหรือเชื่อมกัน

Overlays  การซ้อนทับ /  Complexity  ความซับซ้อน
 ......................................................................   


 






























สร้างต้นแบบ กราฟิกเทคนิคการทับสี






























































































นำต้นแบบงานพิมพ์มือ มาสร้างสรรค์ผลงานออกแบบด้วย Computer Graphic





































Final : 12 July 2012 


< คะแนนสุงที่สุดในห้อง >: ได้รับเลือกเป็นแบบ สิ่งพิมพ์สถาบันสอนภาษา AUA
 จารุตา ยงค์พีระกุล ( แนน ) 
































ธิชญานันท์ สุจริตธรรม ( โม )

















นนธิยา สิงห์อ่อน ( นน )
















นางสาวศุภรัตน์ วงศ์ไทย ( หวาน )

















พรพิมล นพพะ ( อ้อย )

















กานต์สิรี โชติช่วง ( รุ้ง )


















เมวิณี นุชจีด ( หม้อ )















 สิริกาญจน์ น้อยอามาตย์ (อิง) 


















กฤษฏิ์ ตุลวรรธนะ ( กิด )

















สมใจ อร่ามสุวรรณ ( นุ๊ก )


















อภิสิทธิ์ เฉลิมวัฒน์ ( ต้น )
อุมาพร กุญชร ( บี )                   

10 ความคิดเห็น:

สิริกาญจน์ กล่าวว่า...

ชอบของบี ชอบโทนสีมันดูแล้วสดใส แต่องค์ประกอบยังไม่ค่อยลงตัวมากเท่าไร คะ

Unknown กล่าวว่า...

ชอบงานของหวาน งานมีสีสันกลมกลืนกันดีและมีการจัดวางแบบผลักระยะทำให้งานดูลงตัวดีค่ะ

Unknown กล่าวว่า...

ชอบงานกิด เพราะว่ามีการจัดวางที่แปลกและชอบโทนสี มองแล้วสบายตามค่ะ

jaruta YPRK กล่าวว่า...

นนธิยา สิงห์อ่อน มีการจัดวางที่แปลก สีสวย แต่งานออกเป็นงานจิวรี่ไปหน่อย ใช่สีฟอนต์สวยมีการสลับสีค่ะ รวมๆลงตัวชอบค่ะ

Tichayanun Sujarittham กล่าวว่า...

ชอบงานของอ้อย เลือกใช้สีที่ดูสดใส แล้วก็ไร้การควบคุมทิศทางของสี ทำให้ดูมีความเป็นอิสระมาก

Unknown กล่าวว่า...

ชอบงานของบี เพราะภาพดูมีชีวิต มีความเคลื่อนไหว บวกกับโทนสีที่สวย ดูแล้วลงตัวดีค่ะ

Nontiya Singh-on กล่าวว่า...

ชอบงานของกิตค่ะ การจัดวางงานดูลงตัวดี แต่ตรงฟร้อนตัวเล็กระยะห่างระหว่างแถวดูเยอะเกินไป ชอบโทนสีที่ใช้ มีการใช้เงาทำให้แบลคกราวกับภาพไม่ดูกลืนกันเกินไป โดยส่วยตัวชอบงานนี้ค่ะ

Unknown กล่าวว่า...

ชอบงานของบีค่ะ ด้วยสีสันที่ลงตัวบวกกับภาพแลดูมีชีวิต ทุกอย่างลงตัวค่ะ การเล่นสีก็สวยค่ะ

Unknown กล่าวว่า...

ชอบงานของนนค่ะ เพราะจังหวะในการวางลงตัว มีชั้นเชิง และสีสันที่ลงตัว

Unknown กล่าวว่า...

ชอบงานของ หม้อ ครับ
เพราะว่าด้วยรูปแบบของงาน และสีสันดูสนุกสนานดีครับ